ค้นหา
วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556
อาหารพื้นบ้านภาคใต้ | |
อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้ | |
เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทำให้วัฒนธรรม | |
ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งเป็นต้นตำรับในการใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามา | |
มีอิทธิพลอย่างมาก | |
..... ..... ..... ..... | |
อาหาร
อาหารพื้นบ้านภาคใต้ | |
อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้ | |
เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทำให้วัฒนธรรม | |
ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งเป็นต้นตำรับในการใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามา | |
มีอิทธิพลอย่างมาก | |
..... ..... ..... ..... | |
มโนราห์
มโนราห์หรือ “โนรา” ศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาของชาวใต้
โดย...นายนิยม กุมกาญจนะ ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต (เนื้อหาและภาพประกอบเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน) |
มโนราห์ หรือ “โนรา” ที่คนใต้เรียกชื่อกล่าวขานกัน แรกเริ่มได้เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากอินเดียโบราณ มีเครื่องดนตรี
ประกับ คือ โหม่ง ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ เรียกว่า เบ็ญจสังคีต ซึ่งเกิดขึ้นครั้งเรียกที่ เมืองพัทลุง หรือปัจจุบันคือ ตำบลบางแก้ว จังหวัดพัทลุง เป็น
ศิลปะถ่ายทอดมาจากรุ่นบรรพชนสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน จนสืบกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
ประกับ คือ โหม่ง ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ เรียกว่า เบ็ญจสังคีต ซึ่งเกิดขึ้นครั้งเรียกที่ เมืองพัทลุง หรือปัจจุบันคือ ตำบลบางแก้ว จังหวัดพัทลุง เป็น
ศิลปะถ่ายทอดมาจากรุ่นบรรพชนสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน จนสืบกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
การเล่นหนังตะลุง
การละเล่นหนังตะลุง หนังตะลุง เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่นิยมในภาคใต้ ลักษณะเป็นการเล่นเงาตัวรูปหนังแกะสลักจากหนังวัวหนังควาย นำมาเชิดเป็นตัวละคร มีบทเจรจาและบทพากย์ การเชิดรูปหนัง การเชิดรูปหนังแต่ละตัวจะเชิดไม่เหมือนกัน เช่น นางเอกจะเรียบร้อย พระเอกนิสัยเจ้าชู้เล็กน้อย พระราชาลักษณะมีอำนาจพระราชินีลักษณะเป็นผู้ดี ตัวตลก ตัวตลกหนังตะลุง มีความสำคัญในการแสดงหนังตะลุง มีบทบาทช่วยพระเอก นางเอก หรืออยู่ฝ่ายธรรมะ สามารถนำศีลธรรม สภาพสังคม เหตุบ้านการเมืองสอดแทรกความรู้ให้คติเตือนใจผู้ชม มาเจรจาในบทหนังตะลุงได้อย่างกลมกลืน คนดูหนังตะลุงมีอารมณ์ขันสนุกสนาน ดูหนังตะลุงได้ทั้งคืนจนสว่างก็เพราะมีตัวตลกซึ่งนายหนังตะลุงจะต้องคิดบทตลกขึ้นเลียนแบบจาก |
วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556
มโนราห์
มโนราห์ หรือ “โนรา” ที่คนใต้เรียกชื่อกล่าวขานกัน แรกเริ่มได้เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากอินเดียโบราณ มีเครื่องดนตรี
ประกับ คือ โหม่ง ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ เรียกว่า เบ็ญจสังคีต ซึ่งเกิดขึ้นครั้งเรียกที่ เมืองพัทลุง หรือปัจจุบันคือ ตำบลบางแก้ว จังหวัดพัทลุง เป็น
ศิลปะถ่ายทอดมาจากรุ่นบรรพชนสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน จนสืบกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
ประกับ คือ โหม่ง ฉิ่ง ทับ กลอง ปี่ เรียกว่า เบ็ญจสังคีต ซึ่งเกิดขึ้นครั้งเรียกที่ เมืองพัทลุง หรือปัจจุบันคือ ตำบลบางแก้ว จังหวัดพัทลุง เป็น
ศิลปะถ่ายทอดมาจากรุ่นบรรพชนสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน จนสืบกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
ประเพณีชักพระ
ประเพณีชักพระ บางท้องถิ่นเรียกว่า "ประเพณีลากพระ " เป็นประเพณีพื้นเมืองของชาวภาคใต้ ได้มีการสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัย
ศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย มีพุทธตำนานเล่าขานสืบทอดกันมาว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7
พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้าของแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ได้เสด็จกลับ
มายังโลกมนุษย์ ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ
เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลัภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งรอคอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3บ จึงได้รับเสด็จและได้นำภัตตาหารคาวหวานไปถวายด้วย ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไป
ถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความอนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญ
ประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจำประเพณีทำด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก
ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น
ศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย มีพุทธตำนานเล่าขานสืบทอดกันมาว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7
พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้าของแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ได้เสด็จกลับ
มายังโลกมนุษย์ ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ
เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลัภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งรอคอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3บ จึงได้รับเสด็จและได้นำภัตตาหารคาวหวานไปถวายด้วย ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไป
ถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความอนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญ
ประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจำประเพณีทำด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก
ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น
วันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556
เรือนไทยภาคใต้
เรือนไทยภาคใต้
ลักษณะทั่วไป
เรือนส่วนใหญ่จะวางเสาไว้บนตอหม้อตีนเสาซึ่งจะก่ออิฐฉาบปูนเมื่อต้องการจะทำการย้ายบ้านก็จะ ปลดกระเบื้องลงตีไม้ยึดโครงสร้างเสาเป็นรูปกากบาทแล้วใช้คนหามย้ายไปตั้งในที่ที่ต้องการนำกระเบื้องขึ้นมุงใหม่ ส่วนใหญ่จะใช้ไม้ในการก่อสร้างรูปทรงของเรือนเป็นเรือนไม้ ใต้ถุนสูงประมาณคนก้มตัวลอดผ่านได้ เสาทุกต้นไม่ฝังลงดินเพราะว่าดินมันชื้น และก็จะทำให้เสาผุเร็ว แต่จะตั้งอยู่บนแผ่นปูนหรือแผ่นหินเรียบ ๆ ที่ฝังอยู่ ในดินให้โผล่ขึ้นมาจากพื้นดินไม่เกิน 1 ฟุต เพื่อกันมิให้ปลวกกัดตีนเสาและกันเสาผุจากความชื้นของดิน
เรือนไทยภาคใต้ที่พบเห็นทั่วไปในภาคใต้แบ่งออกเป็น
วันสารทเดือนสิบ
การทำบุญวันสารทเดือนสิบ หรือภาษาท้องถิ่นเรียกว่า วันชิงเปรตนั้นในเดือนสิบ(กันยายน) มีการทำบุญที่วัด 2 ครั้ง
| |
ครั้งแรก วันแรม 1 ค่ำ เดือนสิบเรียกว่า วันรับเปรต
ครั้งที่สองวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิบเรียกว่า วันส่งเปรต การทำบุญทั้งสองครั้งเป็นการทำบุญที่แสดงถึงความกตัญญูต่อบุพการีผู้ล่วงลับไปแล้วโดยอุทิศส่วนกุศลไปให้วิญญาณของบรรพบุรุษที่ตกอยู่ในเปรตภูมิเป็นคติของศาสนาพราหมณ์ที่ผสมในประเพณีของพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนนิยมไปทำบุญ ณ วัดที่เป็นภูมิลำเนาของตนเพื่อร่วมพิธีตั้งเปรตและชิงเปรตอาจสับเปลี่ยนกันไปทำบุญ ณ ภูมิลำเนาของฝ่ายบิดาครั้งหนึ่งฝ่ายมารดาครั้งหนึ่งจึงทำให้ผู้ที่ไปประกอบ อาชีพจากถิ่นห่างไกลจากบ้านเกิดได้มีโอกาสได้กลับมาพบปะสังสรรค์และ รู้จักวงศาคณาญาติเพิ่มขึ้น |
วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองภาคใต้
ศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้อาจแบ่งตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ
- วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา
- วัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซำแปง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ
1. โนรา เป็นนาฏศิลป์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาศิลปะการแสดงของภาคใต้ มีความยั่งยืนมานับเป็นเวลาหลายร้อยปี การแสดงโนราเน้นท่ารำเป็นสำคัญ ต่อมาได้นำเรื่องราวจากวรรณคดีหรือนิทานท้องถิ่นมาใช้ในการแสดงเรื่อง พระสุธนมโนห์รา เป็นเรื่องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงมากที่สุดจนเป็นเหตุให้เรียกการแสดงนี้ว่า มโนห์รา
ศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้อาจแบ่งตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ
- วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา
- วัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซำแปง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ
1. โนรา เป็นนาฏศิลป์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาศิลปะการแสดงของภาคใต้ มีความยั่งยืนมานับเป็นเวลาหลายร้อยปี การแสดงโนราเน้นท่ารำเป็นสำคัญ ต่อมาได้นำเรื่องราวจากวรรณคดีหรือนิทานท้องถิ่นมาใช้ในการแสดงเรื่อง พระสุธนมโนห์รา เป็นเรื่องที่มีอิทธิพลต่อการแสดงมากที่สุดจนเป็นเหตุให้เรียกการแสดงนี้ว่า มโนห์รา
วัฒนธรรมภาคใต้
ภาคใต้ เป็นดินแดนแห่งหมู่เกาะและท้องทะเลอันงดงาม อีกทั้งยังมีอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติมากมาย นอกจากนี้ ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวใต้ยังโดดเด่นมีเอกลักษณ์และเปี่ยมเสน่ห์ชวนให้เข้าไปสัมผัสและเรียนรู้อย่างใกล้ชิด จึงไม่น่าแปลกใจว่า ในแต่ละปีภาคใต้จัดเป็นอีกภาคที่มีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติมาเที่ยวชมมากมาย
เพลงพื้นเมืองภาคใต้
เพลงพื้นบ้านภาคใต้ มีอยู่ประมาณ 8 ชนิด มีทั้งการร้องเดี่ยวและการร้องเป็นหมู่คณะ โดยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. เพลงที่ร้องเฉพาะโอกาสหรือในฤดูกาล ได้แก่เพลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคำตัก เพลงกล่อมนาคหรือเพลงแห่นาคเป็นต้น
2. เพลงที่ร้องไม่จำกัดโอกาส ได้แก่ เพลงตันหยง ซึ่งนิยมร้องในงานบวช งานแต่งงาน งานขึ้นปีใหม่ และงานมงคลต่าง ๆ เพลงเด็กที่ร้องกล่อมเด็กให้หลับ และเพลงฮูลู หรือลิเกฮูลู ที่เป็นการร้องคล้าย ๆ ลำตัด โดยมีรำมะนา เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับร้องภาษาท้องถิ่นคือภาษามลายูเป็นกลอน โต้ตอบ
เพลงพื้นเมืองภาคใต้
เพลงพื้นบ้านภาคใต้ มีอยู่ประมาณ 8 ชนิด มีทั้งการร้องเดี่ยวและการร้องเป็นหมู่คณะ โดยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. เพลงที่ร้องเฉพาะโอกาสหรือในฤดูกาล ได้แก่เพลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคำตัก เพลงกล่อมนาคหรือเพลงแห่นาคเป็นต้น
2. เพลงที่ร้องไม่จำกัดโอกาส ได้แก่ เพลงตันหยง ซึ่งนิยมร้องในงานบวช งานแต่งงาน งานขึ้นปีใหม่ และงานมงคลต่าง ๆ เพลงเด็กที่ร้องกล่อมเด็กให้หลับ และเพลงฮูลู หรือลิเกฮูลู ที่เป็นการร้องคล้าย ๆ ลำตัด โดยมีรำมะนา เป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับร้องภาษาท้องถิ่นคือภาษามลายูเป็นกลอน โต้ตอบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)